หน้าแรกเว็บบอร์ด หน้าแรกเว็บบอร์ด
   For MD.
   Doctor Room l ห้องพักแพทย์
   Post reply ( Re: ถ้าไม่ถนัดตรวจ case เด็กเล็ก ควรเลือกที่จะเลี่ยง(ถ้าทำได้) หรือควร )
ขอเชิญเพื่อนแพทย์พูดคุย แสดงความคิดเห็นครับ
หัวข้อ:
ใส่ชื่อ:
Email:
Add YABBC tags:
Add Smileys: <more...>
ข้อความ:

Disable Smilies




Topic Summary
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 11:54:51
ถ้าเป็นคนที่ไม่มั่นใจ ไม่ถนัด ไม่ชอบในการตรวจ case เด็กเล็กๆเลย (เด็กโตพอจะมั่นใจบ้าง) แต่มั่นใจในการตรวจ case ผู้ใหญ่สุดๆ
 
เราควรเลือกตรวจ case เด็ก ให้น้อยที่สุด หรือว่าไม่ควรเลี่ยง ควรที่จะตรวจเยอะๆเพื่อเพิ่มความมั่นใจดีคะ
 
คือถ้าวันไหนที่อยู่เวรตรวจ Opd ถ้าตรงกับวันที่มีกุมารแพทย์อยู่เวร opd ด้วย เราแทบจะไม่ค่อยได้ตรวจ case เด็กค่ะ เพราะเขามักจะเลือกให้เด็กตรวจกับกุมารแพทย์ก่อน  
 
ซึ่งเราพอจะสามารถเลือกลงเวร opd ให้ตรงกับกุมารแพทย์ได้ เราควรเลือกที่จะเลี่ยงตรวจ case เด็กให้มากที่สุด แต่มันจะเป็นการดูเหมือนหนีปัญหาไหมคะ หรือไม่ควรเลี่ยง ควรฝึกตรวจไปเรื่อยๆดีคะ
 
ป.ล. เวร opd คือ มีเฉพาะ opd GP แพทย์ทุกคนใน รพ. ไม่ว่าจะเฉพาะทางหรือไม่เฉพาะทาง สามารถลงเวร opd ได้ทุกคนค่ะ ถ้าลงเวรคือ ตรวจทุก case ที่มา รพ. ไม่มี opd เฉพาะทาง (แต่ถ้ามีหมอเฉพาะทางลงเวร opd GP มักส่งผู้ป่วยให้หมอเวร opd ที่ตรงกับเฉพาะทางก่อน)
 
ขอบคุณสำหรับคำตอบค่ะ   Smiley
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 11:58:33
เพิ่มเติมค่ะ เวร opd GP จะมีหมอลงเวร ประมาณ 4 คนต่อวันค่ะ ซึ่งหมอคนไหนก็สามารถลงเวรได้ ถ้าโชคดีเวรนั้นมี กุมารแพทย์ ก็แทบไม่ได้ตรวจ case เด็กเลย ซึ่งเราพอจะสามารถเลือกให้ตรงกับกุมารแพทย์ได้ค่ะ
 
แต่ถ้าเราเลือกให้ตัวเองออก opd ตรงกับกุมารแพทย์ทุกครั้ง เราจะค่อยๆลืม skill การตรวจ case เด็ก จึงเป็นสิ่งที่กังวลค่ะ  Cry
จากคุณ: Pandermonium โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 13:35:15
แค่เด็กเป็นหวัด ท้องเสียก็ตรวจไม่ได้เลยเหรอ
 
 Huh
จากคุณ: 6699 โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 14:39:34
-ควรจะหัดตรวจผู้ป่วยเด็ก ที่ OPD เพราะโรคมีไม่มาก จบแพทย์แล้วเรียน 7 วัน น่าจะ  โอเค
 
-ส่วนใหญ่จะมาด้วย common symptoms ,with common manifestation นานๆ ถึงจะมาด้วยอาการ common symptoms with uncommon manifestation  
 
-ตรวจผู้ป่วยเด็ก ถ้าจำอะไรไม่ได้ ขอให้ดูว่า sicked หรือไม่ sicked ถ้า sicked ก็admit ถ้าไม่ sicked ก็ให้ยาตามอาการ หรือตามโรคที่สงสัย แล้วนัดดู 1-3 วัน
 
-การตรวจผู้ป่วยเด็ก ส่วนมาก จะต้องใช้ saliva treatment อย่างมาก ถ้าไม่รักษา มีโอกาสลืมการรักษาได้มาก จะทำ private practice นอกรพ.ก็ลำบาก
จากคุณ: SantaNiCo โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 15:06:05
อ้อ. ลองมีลูกดูนะคะ.  จะได้ให้คำแนะนำเรื่องเลี้ยงเด็กอ่อนได้
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 16:11:43
เคยเห็นข่าว หมอคนนึงตรวจ case เด็กพลาด  
Diag common cold สุดท้ายกลับบ้านเป็น pneumonia
แล้ว Respiratory failure
 
โดยส่วนตัวมองว่า case เด็ก มีโอกาสพลาดสูง
ยิ่งเด็กร้องไห้ ยิ่งฟัง lung ไม่รู้เรื่อง
 
ส่วน case ผู้ใหญ่ ที่เห็นออกข่าวรักษาพลาด มักเป็น case ผ่าตัด/สูติ ไม่เคยเห็นข่าวตรวจ common cold พลาดแล้ว Respi fail เหมือน case เด็กเลย
จากคุณ: megacure โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 17:59:59
แนะนำให้สร้างความชัดเจน
 
ไม่ต้องตรวจเลย ก็ไม่ตรวจ
 
หากต้องตรวจ ต้องได้รับการ training หรือ supervision ที่ดีพอ
 
เรื่องนี้มันชัดเจน ควรมีแค่ 2 แบบ
จากคุณ: Pandermonium โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 18:30:56
on 08/23/20 เวลา 17:59:59, megacure wrote:
แนะนำให้สร้างความชัดเจน
 
ไม่ต้องตรวจเลย ก็ไม่ตรวจ
 
หากต้องตรวจ ต้องได้รับการ training หรือ supervisation ที่ดีพอ
 
เรื่องนี้มันชัดเจน ควรมีแค่ 2 แบบ

แต่intern1จบใหม่ ตรวจได้หมดนะ
ไม่อายน้องเหรอคะ
คุณพี่
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 21:10:05
on 08/23/20 เวลา 18:30:56, Pandermonium wrote:

แต่intern1จบใหม่ ตรวจได้หมดนะ
ไม่อายน้องเหรอคะ
คุณพี่

 
ถ้าจะให้ตรวจ ก็ตรวจได้จ้า
Intern 1 ก็เคยผ่านมาแล้วจ่ะ
แต่ตอนนี้อยู่ในจุดที่เลือกได้  
เลยอยากรู้ว่าควรเลือกที่จะเลี่ยงไปเลย หรือควรฝืน ทั้งๆที่อาจจะเสี่ยงพลาดได้
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 21:10:48
on 08/23/20 เวลา 17:59:59, megacure wrote:
แนะนำให้สร้างความชัดเจน
 
ไม่ต้องตรวจเลย ก็ไม่ตรวจ
 
หากต้องตรวจ ต้องได้รับการ training หรือ supervisation ที่ดีพอ
 
เรื่องนี้มันชัดเจน ควรมีแค่ 2 แบบ

 
ขอบคุณนะคะ  Smiley
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/23/20 เวลา 21:15:34
อยากรู้ในมุมมองคนในบอร์ดนี้ที่เป็นพ่อแม่คนแล้วว่า
ถ้ารู้ว่าหมอคนนั้นไม่มีความมั่นใจตรวจ case เด็ก
ถ้าพ่อแม่เด็กเลือกได้ ก็คงเลือกให้ตรวจกับหมอที่เขาเชี่ยวชาญเรื่องเด็กไหมอ่า Huh
 
เราเลยคิดว่า ถ้าเราไม่ถนัด ไม่มั่นใจ ควรเลี่ยงการตรวจไปเลยเท่าที่ทำได้ดีไหม  Undecided
 
Case เด็ก ถ้าตรวจพลาดไปนิดเดียว สั่งยาพลาดไปนิดเดียว อาจได้ขึ้นศาล  Cry
จากคุณ: jengirl โพสเมื่อวันที่: 08/24/20 เวลา 04:10:40
ไม่มั่นใจก็ไม่จำเป็นต้องตรวจค่ะ
เคสเด็กมันมีรายละเอียดของมันอยู่นะคะ คนที่จบมาเขาเรียนมามีประสบการณ์กว่าเรา
 
เอามาเทียบกับ intern ไม่ได้หรอกค่ะ นึกย้อนไปเคสเมดหลายๆเคสที่รักษาไป พอมาเรียนแล้วนึกย้อนไปถึงรู้ว่าตอนนั้นทำไม่ได้มาตรฐานหลายอย่าง
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/24/20 เวลา 06:58:27
on 08/24/20 เวลา 04:10:40, jengirl wrote:
ไม่มั่นใจก็ไม่จำเป็นต้องตรวจค่ะ
เคสเด็กมันมีรายละเอียดของมันอยู่นะคะ คนที่จบมาเขาเรียนมามีประสบการณ์กว่าเรา
 
เอามาเทียบกับ intern ไม่ได้หรอกค่ะ นึกย้อนไปเคสเมดหลายๆเคสที่รักษาไป พอมาเรียนแล้วนึกย้อนไปถึงรู้ว่าตอนนั้นทำไม่ได้มาตรฐานหลายอย่าง

 
จริงเลย Intern นี่คือ ยังไงก็ต้อง treat ทุก case เพราะไม่มีทางเลือก แต่ถ้าอยู่ในจุดที่เลือกได้ ก็ไม่อยากให้ผู้ป่วยเด็กต้องมาตรวจกับหมอที่ไม่มั่นใจแบบเราเลย
จากคุณ: megacure โพสเมื่อวันที่: 08/24/20 เวลา 07:00:57
on 08/23/20 เวลา 18:30:56, Pandermonium wrote:

แต่intern1จบใหม่ ตรวจได้หมดนะ
ไม่อายน้องเหรอคะ
คุณพี่

 
สิ่งที่เคยเป็น กับสิ่งที่ควรเป็น หลายครั้งไม่เหมือนกัน
 
ในอดีต ระบบการแพทย์เราบังคับให้ intern ต้องทำการรักษาที่ตนไม่เชี่ยวชาญมากมาย result ก็ไม่ค่อยดี แต่ก็เข้าใจได้ว่ายุคสมัยนั้นมันขาดแคลน
 
แต่มายุคนี้ที่กุมารแพทย์ในเมืองยังหาที่ลงเอกชนกันยาก การให้ intern ทำสิ่งที่ไม่เชี่ยวชาญ ไม่มั่นใจ อย่างโดดเดี่ยว ไม่ควรเกิดขึ้น ยิ่งคิดถึงผลการรักษาต่อประชาชนยิ่งเห็นชัดว่าไม่สมเหตุสมผล
จากคุณ: 6699 โพสเมื่อวันที่: 08/24/20 เวลา 07:02:32
-จากประเด็นการลดอัตราการตายของมารดายากจนที่คลอดบุตรแล้วเสียชีวิต ไม่ใช่การฝึกให้พยาบาลท้องถิ่นให้ผ่าตัดทำคลอดหรือให้รักษาภาวะตกเลือดรุนแร  งหรือการติดเชื้อ แต่เป็นการเพิ่มหนทางในการเคลื่อนย้ายผู้หญิงเหล่านั้น ไปยังรพ.ใกล้เคียง โรงพยาบาลจะไม่มีประโยชน์ หากเธอไปไม่ถึง หากไม่มีรถพยาบาล ไม่มีถนนสำหรับรถพยาบาล
 
-การเข้าถึงไฟฟ้า ได้มากกว่า ช่วยในการเรียนมากกว่า จำนวนครูที่เพิ่มขึ้นในชั้นเรียน เพราะนักเรียนสามารถทำการบ้านหลังดวงอาทิตย์ตกได้  
 
-ถ้าจขกท เป็นพยาบาล คำตอบจะเป็นอย่างหนี่ง แต่ถ้าเป็นแพทย์ที่จบการศึกษา และได้ใบประกอบโรคศิลป์ ตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถในการประเมินเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชี  พเวชกรรม พ.ศ. 2555 https://www.tmc.or.th/file_08062012.pdf ควรจะตรวจผู้ป่วยนอกเด็กได้ เพราะเป็นมาตราฐานขั้นพื้นฐานของการเป็นแพทย์  
 
-แต่ถ้ายังไม่มั่นใจการตรวจผู้ป่วยนอกเด็ก อาจจะต้องยอมรับข้อบกพร่อง และหาทางเพิ่มพูนทักษะส่วนนี้  เพราะเราเป็นแพทย์ ไม่ใช่พยาบาลท้องถิ่น ที่การฝึกอบรบเรื่องการทำคลอด และการป้องกันการติดเชื้อไม่ได้ช่วยมากเท่ากับการส่งต่อไปรพ.ใกล้เคียง แต่เราเป็นแพทย์ที่รพ.ใกล้เคียง เมื่อเขาส่งต่อมาให้เรา จะได้ทำการส่งต่อไปอีก ถ้าเช่นนี้ ไม่ต้องมีรพ.ให้มาก แต่แค่เพิ่มจำนวนรถabulance ก็พอ
 
-ถ้าตรวจผู้ป่วยเด็กแล้ว ไม่มั่นใจ ควรจะอธิบายให้พ่อแม่เด็ก หรือให้ information เพื่อป้องกันการฟ้องร้อง หลักการให้ information น่าจะได้ทำการเรียนมาแล้ว
 
-ถ้าคิดว่า ไม่มั่นใจในการตรวจผู้ป่วยเด็ก อาจจะเนื่องจากตอนเรียนแพทย์ ยังขาดประสบการณ์และความรู้ อาจจะขอศึกษา และติดตามกุมารแพทย์ออกตรวจนอกเวลา นั่งใกล้เขา ดูเขารักษา ถามเขาเมื่อมีข้อสงสัย เชื่อว่า เขาคงจะไม่ใจร้าย การหลีกหนีการตรวจผู้ป่วยนอกที่เป็นเด็ก ไม่น่าจะใช่คำตอบของการเป็นแพทย์ทั่วไป เพราะการตรวจผู้ป่วยนอก ส่วนมาก จะเป็นงานคัดกรองผู้ป่วยเด็กที่ป่วยหนัก ให้ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องรีบด่วน เชื่อว่า แพทยสภา ก็คงจะเห็นด้วย เพราะไม่ใช่เป็นการรักษาผู้ป่วยเด็กตั้งแต่เข้ารพ. จนกว่าจะออกจากรพ.  
 
-ถ้าหากว่า ปัญหานี้ เป็นทั้งระบบการแพทย์ อาจจะต้องทบทวนการเรียนการสอนวิชาแพทย์ทั้งระบบของโรงเรียนแพทย์  หากว่าเป็นเฉพาะแพทย์บางท่าน ก็ต้องแก้ไขเฉพาะตัว คำตอบอาจจะไม่ตายตัว แต่การหาความรู้และทักษะการรักษา หลังจบการเป็นแพทย์เป็นเรื่องสำคัญ
 
-อย่าเป็นแค่จำนวนครูที่เพิ่มขึ้นมา  แต่ควรจะเป็นไฟฟ้าที่ทำให้เด็กสามารถทำการบ้านหลังดวงอาทิตย์ตกได้
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/24/20 เวลา 07:10:53
on 08/24/20 เวลา 07:00:57, megacure wrote:

 
สิ่งที่เคยเป็น กับสิ่งที่ควรเป็น หลายครั้งไม่เหมือนกัน
 
ในอดีต ระบบการแพทย์เราบังคับให้ intern ต้องทำการรักษาที่ตนไม่เชี่ยวชาญมากมาย result ก็ไม่ค่อยดี แต่ก็เข้าใจได้ว่ายุคสมัยนั้นมันขาดแคลน
 
แต่มายุคนี้ที่กุมารแพทย์ในเมืองยังหาที่ลงเอกชนกันยาก การให้ intern ทำสิ่งที่ไม่เชี่ยวชาญ ไม่มั่นใจ อย่างโดดเดี่ยว ไม่ควรเกิดขึ้น ยิ่งคิดถึงผลการรักษาต่อประชาชนยิ่งเห็นชัดว่าไม่สมเหตุสมผล

 
เห็นด้วยกับความคิดเห็นนี้มากๆ
Intern ไม่ควรดู case เองอย่างโดดเดี่ยวเลย
สงสารผู้ป่วยที่มี Intern ดูเป็นหลัก
เทียบกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลใหญ่ๆ ที่มีแพทย์เฉพาะทางแล้ว
ผู้ป่วยที่ได้มาเจอแพทย์เฉพาะทาง คือ โชคดีกว่ามาก
จากคุณ: Dr._Panya โพสเมื่อวันที่: 08/24/20 เวลา 09:12:11
[quote author=6699 link=board=doctorroom;num=1598158491;start=0#3 date=08/23/20 เวลา 14:39:34]-ควรจะหัดตรวจผู้ป่วยเด็ก ที่ OPD เพราะโรคมีไม่มาก จบแพทย์แล้วเรียน 7 วัน น่าจะ  โอเค
 
-ส่วนใหญ่จะมาด้วย common symptoms ,with common manifestation นานๆ ถึงจะมาด้วยอาการ common symptoms with uncommon manifestation  
 
-ตรวจผู้ป่วยเด็ก ถ้าจำอะไรไม่ได้ ขอให้ดูว่า sicked หรือไม่ sicked ถ้า sicked ก็admit ถ้าไม่ sicked ก็ให้ยาตามอาการ หรือตามโรคที่สงสัย แล้วนัดดู 1-3 วัน
 
-การตรวจผู้ป่วยเด็ก ส่วนมาก จะต้องใช้ saliva treatment อย่างมาก ถ้าไม่รักษา มีโอกาสลืมการรักษาได้มาก จะทำ private practice นอกรพ.ก็ลำบาก [/quote
 
Atypical Manifestations are Common Presentations ไม่ใช่เหรอครับ อิ อิ อิ
จากคุณ: Dr._Panya โพสเมื่อวันที่: 08/24/20 เวลา 09:37:46
แผนก Pediatrics จะ Orientations หรือ บอกบ่อยๆว่า ...
1. Children are not small versions of adults กับ  
2. Atypical Manifestations are Common Presentations (ดังกล่าวแล้ว)  
 
เพราะงั้นความเห็นส่วนตัวของผม... หาก จขกท. ต้อง Practice as GP.ไปอีกในระหว่างนี้ หรือหลายๆปี+ ไม่แม่น/ ไม่มั่นใจ/ ไม่ชอบ/ (คิดว่าตัวเอง)ไม่มีความรู้เรื่องเด็กเล็กๆดีพอ ฯลฯ  
ก็น่าจะต้องอ่านหนังสือ/ ศึกษาเรื่อง New Born or Infants อีกครั้ง/ บ่อยๆ... ทั้งจากอาจารย์เด็กในรพ. หรือจากการอ่าน Textbooks of Pediatrics ในห้องสมุด/ การ Downloads หรือหาโอกาสสมัครเข้าฟังประชุมวิชาการเกี่ยวกับโรคเด็ก ที่มีการจัดเรื่อยๆตามสถานที่ต่างๆ...
ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเองในระยะยาว มากกว่าการเลี่ยงตรวจ Cases เด็กเล็กไปเรื่อยๆ ซึ่งคงจะทำไม่ได้ตลอด+ เกิดข้อครหาจากเพื่อนร่วมงาน+ เพิ่มความเสี่ยงในการตรวจ- รักษาต่อผู้ป่วยเด็ก (เมื่อเราต้องตรวจรักษาผป.เองในยามที่เลี่ยงไม่ได้) เป็นต้นครับ
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/24/20 เวลา 12:35:54
on 08/24/20 เวลา 09:37:46, Dr._Panya wrote:
แผนก Pediatrics จะ Orientations หรือ บอกบ่อยๆว่า ...
1. Children are not small versions of adults กับ  
2. Atypical Manifestations are Common Presentations (ดังกล่าวแล้ว)  
 
เพราะงั้นความเห็นส่วนตัวของผม... หาก จขกท. ต้อง Practice as GP.ไปอีกในระหว่างนี้ หรือหลายๆปี+ ไม่แม่น/ ไม่มั่นใจ/ ไม่ชอบ/ (คิดว่าตัวเอง)ไม่มีความรู้เรื่องเด็กเล็กๆดีพอ ฯลฯ  
ก็น่าจะต้องอ่านหนังสือ/ ศึกษาเรื่อง New Born or Infants อีกครั้ง/ บ่อยๆ... ทั้งจากอาจารย์เด็กในรพ. หรือจากการอ่าน Textbooks of Pediatrics ในห้องสมุด/ การ Downloads หรือหาโอกาสสมัครเข้าฟังประชุมวิชาการเกี่ยวกับโรคเด็ก ที่มีการจัดเรื่อยๆตามสถานที่ต่างๆ...
ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเองในระยะยาว มากกว่าการเลี่ยงตรวจ Cases เด็กเล็กไปเรื่อยๆ ซึ่งคงจะทำไม่ได้ตลอด+ เกิดข้อครหาจากเพื่อนร่วมงาน+ เพิ่มความเสี่ยงในการตรวจ- รักษาต่อผู้ป่วยเด็ก (เมื่อเราต้องตรวจรักษาผป.เองในยามที่เลี่ยงไม่ได้) เป็นต้นครับ

 
นี่แหละคือประเด็นที่เรากังวล กลัวว่าเลี่ยงไปเรื่อยๆแล้วสุดท้าย skill ตรวจเด็กหายหมดเลย พอถึงจุดๆนึงลืมการตรวจเด็กไปแล้ว แล้วเกิดต้องตรวจขึ้นมา อาจจะลำบากได้
จากคุณ: Innominate โพสเมื่อวันที่: 08/25/20 เวลา 10:24:16
ถ้าไม่ได้ตรวจอะไรนานๆก็ลืมแน่ครับ เคยตรวจคลินิกเบาหวานความดันวันละร้อยกว่าคน ตอนนี้ไม่ได้ตรวจมานานก็ลืมหมดแล้วครับ  
 
แต่อยู่ที่การตั้งเป้าหมายในชีวิต ถ้าจะทำ GP , ER , Clinic ยังไงก็ต้องตรวจเด็ก แต่ถ้าเป็นคลินิกเราเองที่เลือกได้แล้วจะอินดี้ไม่ตรวจเด็กเลย เด็กเข้ามาเชิญคลินิกข้างๆแบบนั้นก็ได้ครับ  
 
ต้องถามตัวเองว่าจะมีโอกาสตรวจเด็กอีกมาน้อยแค่ไหน ถ้ายังมีโอกาสต้องตรวจ ส่งต่อหรือปรึกษาใครไม่ได้ ก็ควรฝึกครับ  Smiley
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/25/20 เวลา 12:25:59
on 08/25/20 เวลา 10:24:16, Innominate wrote:
ถ้าไม่ได้ตรวจอะไรนานๆก็ลืมแน่ครับ เคยตรวจคลินิกเบาหวานความดันวันละร้อยกว่าคน ตอนนี้ไม่ได้ตรวจมานานก็ลืมหมดแล้วครับ  
 
แต่อยู่ที่การตั้งเป้าหมายในชีวิต ถ้าจะทำ GP , ER , Clinic ยังไงก็ต้องตรวจเด็ก แต่ถ้าเป็นคลินิกเราเองที่เลือกได้แล้วจะอินดี้ไม่ตรวจเด็กเลย เด็กเข้ามาเชิญคลินิกข้างๆแบบนั้นก็ได้ครับ  
 
ต้องถามตัวเองว่าจะมีโอกาสตรวจเด็กอีกมาน้อยแค่ไหน ถ้ายังมีโอกาสต้องตรวจ ส่งต่อหรือปรึกษาใครไม่ได้ ก็ควรฝึกครับ  Smiley

 
เวร OPD นอกเวลายังไงก็เลี่ยง case เด็กไม่ได้ค่ะ  Cry
แต่เลือกที่จะออกตรวจพร้อมหมอ ped ได้
แต่ไม่รู้จะทำแบบนี้ไปได้นานแค่ไหน Cry
จากคุณ: jumpoo โพสเมื่อวันที่: 08/25/20 เวลา 16:19:41
บอกไปเลย หมอไม่ค่อยสันทัดถ้าไม่ดีขึ้นยังไงมาหาหมอเด็กนะ
Put the right man onthe right job. แต่ถ้าjobมีมากกว่าก็ต้องแบ่งกันกันตรวจ  เพื่อลดเวลาการรอตรวจ อาจจะลดqualityการตรวจไปด้วย
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/25/20 เวลา 17:42:53
on 08/25/20 เวลา 16:19:41, jumpoo wrote:
บอกไปเลย หมอไม่ค่อยสันทัดถ้าไม่ดีขึ้นยังไงมาหาหมอเด็กนะ
Put the right man onthe right job. แต่ถ้าjobมีมากกว่าก็ต้องแบ่งกันกันตรวจ  เพื่อลดเวลาการรอตรวจ อาจจะลดqualityการตรวจไปด้วย

บอกประจำ นัด F/U กุมารแพทย์ประจำ กลัวเค้าด่ามากมาย  Cry
จากคุณ: Mr.Note โพสเมื่อวันที่: 08/25/20 เวลา 22:56:15
บริบทตามที่ว่า น่าจะเหมือนโอบ่าย รึ โอนอกเวลา
ถ้าตรวจแล้วไม่มั่นใจก็adviceนัดพบหมอเด็กในเวลา รึ คอนเลยครับ
 
รพศ แห่งนึงคือมีโอนอกเวลาปกติ มีหมอ1คน กับโอนอกเฉพาะทางส่วนมากเป็น ศัลย์ เมด เด็ก (มีไม่ครบทั้ง3แผนกในแต่ละวัน)
โอนอกมีกฏให้นัดเฉพาะทางในเวลา รึ แอดมิตได้เลยถ้าเห็นสมควร
รึจะโทรบอก พพล ในแผนกนั้นๆให้มาดูที่โอ ก่อนจะแอดมิทก็ได้
(พพล ถ้าเห็นสมควรก็จะบอกสตาฟเวรเอง แล้วให้สตาฟเวรแผนกนั้นตัดสินใจต่อ)
 
แต่ถ้าตามบริบท จขกท ที่ว่า  นัด F/U กุมารแพทย์ประจำ กลัวเค้าด่ามากมาย แล้วเกิดเหตุกับผม ซึ่ง็จะให้ดูตามกฏ รพ ว่า ถ้าสตาฟตรวจโอGPนอกเวลาก็สามารถแอดมิตได้เลย ถ้ายังมาตามด่าอีก ผมก็จะบอกใน อกพ เลยว่า ทีสตาฟท่านอื่น admit หรือ miss dx เเผนกผม ผมยังไม่เคยว่าเลย Grin Grin Grin ด่ามาด่ากลับไม่โกง
 
เพราะถือว่าเราเป็นสเปเชียลลิสคนละอย่างกัน เชี่ยวชาญคนละอย่างกัน
ถ้าจุดหมายคือให้คนไข้หาย(อย่างที่บอกสมมุติตัวเองเป็นแม่ก็อยากให้ลูกตรวจก ับหมอเด็ก อย่างน้อยก็อุ่นใจทั้งคนตรวจและแม่คนไข้) ก็ไม่ควรมาเบลมกัน
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/26/20 เวลา 15:09:43
on 08/25/20 เวลา 22:56:15, Mr.Note wrote:
บริบทตามที่ว่า น่าจะเหมือนโอบ่าย รึ โอนอกเวลา
ถ้าตรวจแล้วไม่มั่นใจก็adviceนัดพบหมอเด็กในเวลา รึ คอนเลยครับ
 
รพศ แห่งนึงคือมีโอนอกเวลาปกติ มีหมอ1คน กับโอนอกเฉพาะทางส่วนมากเป็น ศัลย์ เมด เด็ก (มีไม่ครบทั้ง3แผนกในแต่ละวัน)
โอนอกมีกฏให้นัดเฉพาะทางในเวลา รึ แอดมิตได้เลยถ้าเห็นสมควร
รึจะโทรบอก พพล ในแผนกนั้นๆให้มาดูที่โอ ก่อนจะแอดมิทก็ได้
(พพล ถ้าเห็นสมควรก็จะบอกสตาฟเวรเอง แล้วให้สตาฟเวรแผนกนั้นตัดสินใจต่อ)
 
แต่ถ้าตามบริบท จขกท ที่ว่า  นัด F/U กุมารแพทย์ประจำ กลัวเค้าด่ามากมาย แล้วเกิดเหตุกับผม ซึ่ง็จะให้ดูตามกฏ รพ ว่า ถ้าสตาฟตรวจโอGPนอกเวลาก็สามารถแอดมิตได้เลย ถ้ายังมาตามด่าอีก ผมก็จะบอกใน อกพ เลยว่า ทีสตาฟท่านอื่น admit หรือ miss dx เเผนกผม ผมยังไม่เคยว่าเลย Grin Grin Grin ด่ามาด่ากลับไม่โกง
 
เพราะถือว่าเราเป็นสเปเชียลลิสคนละอย่างกัน เชี่ยวชาญคนละอย่างกัน
ถ้าจุดหมายคือให้คนไข้หาย(อย่างที่บอกสมมุติตัวเองเป็นแม่ก็อยากให้ลูกตรวจก ับหมอเด็ก อย่างน้อยก็อุ่นใจทั้งคนตรวจและแม่คนไข้) ก็ไม่ควรมาเบลมกัน

 
ขอบคุณค่า ดีจังที่มี opd นอกเวลาเฉพาะทางด้วย
ที่นี่ไม่มี พพล ถ้าจะ consult คือ con staff เลย  Cry
จากคุณ: น้ำเน่าในเงาจันทร์ โพสเมื่อวันที่: 08/28/20 เวลา 09:24:31
เป็นGI med แต่ก็โดนหมอเด็กconsultไปดูเคสเด็กปวดท้องอยู่เรื่อยๆทั้งOPDกะIPD เพราะที่โรงพยาบาลไม่มีsub GI ped
ตรวจคนไข้เด็กมันก็ไม่ค่อยมั่นใจเท่าตรวจผู้ใหญ่อ่ะนะ แต่ก็ต้องตรวจไปใช้ความรู้ตอนเป็นGPนั่นแหละ ส่วนใหญ่ก็พยายามexclude acute surgical abdomenของเด็กออกไปก่อน ที่เหลือค่อยๆใช้เวลาหาdiagnosisเอา
จากคุณ: Dr._Panya โพสเมื่อวันที่: 08/29/20 เวลา 09:27:57
เมื่อหลายๆๆๆปีก่อน ตอนผมจบแพทย์ใหม่ๆ ผมก็ไม่ค่อยมั่นใจในการตรวจ- วินิจฉัย- รักษา "Skin+ สูติฯ+ เด็ก" เลย...ก็เลยพยายามหาความรู้ทั้งจากการอ่าน+ การฟัง+ การประชุม ใน 3 Fields นั่นเป็นพิเศษ
จนอีก 2-3 ปีต่อมา ใน 3 สาขานั่นคิดว่าแน่น+ มั่นใจสุดๆเลยครับ อิ อิ อิ
จากคุณ: Dr._Panya โพสเมื่อวันที่: 08/29/20 เวลา 09:41:56
เหมือนตอนผมหัดเล่นเทนนิสใหม่ๆ ก็เช่นกัน
ผมเกลียดและกลัวการตีและการรับลูกทาง Backhand มากๆๆ
ก็เลยซ้อมตี Backhand มากๆเป็นพิเศษ ขนาดลูกที่พุ่งเข้ามาตรงกลางตัว ผมยังเบี่ยงตัวเพื่อจะตีด้วย Backhand เลยว่างั้นเถอะ
ทุกวันนี้ก็เลยกลายเป็นว่า มั่นใจและภูมิใจในการตี Backhand ของตัวเองมากๆๆ (มากกว่าการตีทาง Forehand) เลยครับ อิ อิ อิ
 
ป.ล. แต่การ Desensitized ตัวเองดังกล่าวนั้นอาจจะเป็น Painful Learning ในช่วงแรกๆ แต่(ผมคิดว่า)จะได้ผลที่ดี+ มั่นคงในระยะยาว...ดีกว่าการเลี่ยงการตรวจ- รักษา Fields ที่ไม่ชอบ+ การตีที่ไม่ถนัด ไปเรื่อยๆ ครับ อิ อิ
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/29/20 เวลา 12:14:54
จะพยายามมองอีกมุมนะคะ เหมือนการขับรถ
ยิ่งได้ขับบ่อย ยิ่งมีโอกาสเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุก็จริง
แต่เพราะการขับบ่อยๆนั่นเอง ทำให้ทุกวันนี้กล้าขับรถแม้ในเวลามืด+ฝนตกหนัก (ซึ่งช่วงขับรถแรกๆนี่เลี่ยงช่วงดังกล่าวเลย)  
และไม่เคยเกิดอุบัติเหตุเลยแม้จะขับบ่อยก็ตาม เพราะความชำนาญที่เกิดจากการขับบ่อยๆนั่นเอง  Smiley
จากคุณ: 6699 โพสเมื่อวันที่: 08/29/20 เวลา 14:25:08
on 08/29/20 เวลา 12:14:54, JaneJane wrote:
จะพยายามมองอีกมุมนะคะ เหมือนการขับรถ
ยิ่งได้ขับบ่อย ยิ่งมีโอกาสเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุก็จริง
แต่เพราะการขับบ่อยๆนั่นเอง ทำให้ทุกวันนี้กล้าขับรถแม้ในเวลามืด+ฝนตกหนัก (ซึ่งช่วงขับรถแรกๆนี่เลี่ยงช่วงดังกล่าวเลย)  
และไม่เคยเกิดอุบัติเหตุเลยแม้จะขับบ่อยก็ตาม เพราะความชำนาญที่เกิดจากการขับบ่อยๆนั่นเอง  Smiley

 
ถ้าตั้งใจตรวจผู้ป่วยเด็ก แนะนำอ่านหนังสือ โรคผิวหนังในเด็ก / ปริยา ทัศนประดิษฐ์ เล่มนี้เล่มเดียว เอาอยู่สำหรับหมอทั่วไป ที่รักษาโรคของเด็กที่มาด้วยอาการทางผิวหนัง
จากคุณ: Dr._Panya โพสเมื่อวันที่: 08/30/20 เวลา 09:56:16
on 08/29/20 เวลา 14:25:08, 6699 wrote:

 
ถ้าตั้งใจตรวจผู้ป่วยเด็ก แนะนำอ่านหนังสือ โรคผิวหนังในเด็ก / ปริยา ทัศนประดิษฐ์ เล่มนี้เล่มเดียว เอาอยู่สำหรับหมอทั่วไป ที่รักษาโรคของเด็กที่มาด้วยอาการทางผิวหนัง

 
...รู้สึกว่าเล่มนี้/ ชื่อคุ้นๆ (ตอนนั้น เมื่อหลายๆๆ ปีก่อน)ผมก็เคยซื้อมาอ่านเหมือนกัน หนังสือดีจริงครับ ถ้าอ่านสัก 2- 3เที่ยวรับรองว่า จาก Pediatrics Dermatology ที่เคยเป็น Weak point จะกลายเป็น จำขึ้นใจ+ มั่นใจสุดๆ แน่นอนครับ อิ อิ อิ  
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 08/30/20 เวลา 19:09:54
Pediatrics นี่เราน่าจะ weak point ทุกเรื่อง
แต่คิดว่า skin อาจจะดูไม่ค่อยมี case emer เท่าไร
ยังมีเวลานัด F/U skin ได้
กลัวพวก respi สุดแล้ว ดูเหมือนจะง่าย แต่ถ้าพลาดนี่จบเห่
จากคุณ: Dr._Panya โพสเมื่อวันที่: 08/31/20 เวลา 09:29:16
on 08/30/20 เวลา 19:09:54, JaneJane wrote:
Pediatrics นี่เราน่าจะ weak point ทุกเรื่อง
แต่คิดว่า skin อาจจะดูไม่ค่อยมี case emer เท่าไร
ยังมีเวลานัด F/U skin ได้
กลัวพวก respi สุดแล้ว ดูเหมือนจะง่าย แต่ถ้าพลาดนี่จบเห่

 
ในเมื่อไม่มั่นใจ/ ไม่มีความรู้ใน Field ดังกล่าว ...คงจะเลี่ยง/ ถาม- ปรึกษา เพื่อนร่วมรุ่น/ อาจารย์เด็ก ในรพ.ไม่ได้ทุกเคส หรือตลอดเวลาอยู่แล้ว และตอนนี้ ตัวเรารู้ตัวเองว่าเรา Weak ในเรื่องความรู้ทาง Pediatrics แต่ไม่ทราบว่า เพื่อนร่วมงาน/ พยาบาลตามแผนกต่างๆ/ อาจารย์แผนกต่างๆใน รพ./ ผู้อำนวยการ รพ./ ผู้ป่วยที่มารับบริการ รู้รึเปล่า ถ้าทุกคนรู้ก็เป็นเรื่องใหญ่/ น่าอับอายเลยครับ (ก็มันเป็นเรื่องจริง ไม่ได้โลกสวย นิ ใช่มั้ยครับ)...ดังนั้นพยายามอ่าน+ ฟัง+ ถาม+ประชุมทางวิชาการ เกี่ยวกับความรู้ทาง Pediatrics ให้มากๆๆๆเลยครับ อีก 1- 2 ปีข้างหน้า...รับรองว่า การ Discuss เกี่ยวกับโรคหรือเคสทาง Pediatrics ในห้องประชุมของเรานั้นจะ Look Smart มากๆๆ เลยครับ อิ อิ
จากคุณ: Pandermonium โพสเมื่อวันที่: 08/31/20 เวลา 09:43:06
ไม่รู้ก็ควรหาความรู้เพิ่ม  ไม่ใช่หนีปัญหา  ทำเป็นไม่ตรวจ
ตลก..
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 09/01/20 เวลา 00:11:23
on 08/31/20 เวลา 09:43:06, Pandermonium wrote:
ไม่รู้ก็ควรหาความรู้เพิ่ม  ไม่ใช่หนีปัญหา  ทำเป็นไม่ตรวจ
ตลก..

 
คือเป็น specialist ด้านอื่นอะจ่ะ ที่เรียนมา 3 ปี ส่วนใหญ่ก็เจอแต่เคสที่ตัวเองเรียนมาจนคล่องอะนะ ทำไมจะต้องเสี่ยงไปตรวจเคสที่ไม่มั่นใจหล่ะ หรือที่คุณตลก เพราะชีวิตคุณเลือกไม่ได้ อยู่ในจุดที่ต้องโดน abuse โดนบังคับให้ตรวจทุกเคสแบบเลือกไม่ได้ป่าว  ยิ้มอ่อน Smiley
จากคุณ: jumpoo โพสเมื่อวันที่: 09/01/20 เวลา 10:44:21
รพ รัฐ เน้น ปริมาณ  ....เป็นหลัก  คุณภาพต้องทำใจ เจอหมอ เรียนมาเฉพาะทางก็โชคดี เจอหมอ ไม่ถนัดก็ลำบากหน่อย คนไข้ ไม่มีสิทธิเลือก ระบบ อัตคัตคน  ต้องยอม เอาใครก็ได้ ที่มีวุฒิมาตรวจ แก้ไขยากค่ะ คนเห็นช่องว่าง เห็นข้อเสียก็แก้ออะไรไม่ได้ฟรอกค่ะ เสียที่ระบบ วางระบบผิดแต่แรก    
    และ จริงๆ คนตรวจคนแรก ไม่ควรเป็นspecialis ค่ะ เมืองนอกเป็นgp  fammed  ซึ่งตรวจได้ทึกโรค มันโอเคแล้ว แต่ไทยไม่ได้เนื่องจากระบบบัตรทอง เอกสิทธิที่ทุกคนเข้าถึงได้ มันเลยลำบาก
   ถ้เลือกดแนะนำให้ย้าย รพ ค่ะ อย่าต้อยแยกเด็ก และผู้ใหญ่ จะดีกว่า
เป็นผลดีต่อทั้คู่
จากคุณ: Mr.Note โพสเมื่อวันที่: 09/01/20 เวลา 15:56:38
on 08/31/20 เวลา 09:43:06, Pandermonium wrote:
ไม่รู้ก็ควรหาความรู้เพิ่ม  ไม่ใช่หนีปัญหา  ทำเป็นไม่ตรวจ
ตลก..

 
 
ขออนุญาตquoteละกันครับ
 
พพล ที่ฟิกวอร์ดเดียวกัน2ปี ทั้ง เมด เด็ก ศัล ห้าวๆ พอไปเทรนนิ่ง3-4ปีกลับมา
ส่วนมาก(แต่ไม่ทั้งหมด)กลับมาเป็นยังสตาฟจะมายอมรับเลย ช่วงอิน3ที่มั่นใจมากๆก็ทำ miss mal กันไปหลายเคส ต้องมาปรึกษารุ่นพี่อีกที
 
บางทีอ่านไปเฉยๆอาจไม่ช่วยอะไรครับ เหมือนที่ท่านนึงตอบว่ามันคือการขับรถ คุ่มือก็บอกไว้แค่ คุณสตารท เข้าเกียร์D เหยียบคันเร่ง บังคับพวงมาลัยไม่ให้ชน....จบ แต่ชีวิตจริงมีทั้ง ถนนห่วย เพื่อนร่วมทางห่วย รถเรามี ปห เอง
 
แต่ก่อนระบบ รพ รัฐ ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน แต่ ปจบ ถ้ามีเคสโดนฟ้อง สิ่งแรกเลยคือถ้าคุณไม่เฉพาะทางด้านนั้น ยาวแน่ครับ  
 
เช่น จังหวัดนึงไม่มี NSx ปกติ รีเฟอจ ข้างๆ90โล มีวันนึง มีเคส ICH หมอ NSx จ ข้างๆไม่อยู่ ต้องรีเฟอไปไกลเกือบ200โล ใช้เวลา3ชม.กว่า หมอGen รพท แรก คิดว่าคนไข้ไม่น่ารอดไปถึงเลยใจดี ทำBurrholeให้ก่อนหวังเพิ่ม%รอด สรุปexpireกลางทาง หมอGenคนนั้นโดนฟ้องว่าคุณไม่ใช่หมอสมองทำไมถึงผ่าสมอง ก็ชดใช้กันไป.....
จากคุณ: หมอเมืองสยาม โพสเมื่อวันที่: 09/01/20 เวลา 19:32:56
      ...ตรวจคนไข้เด็ก , นิยาม ? - " ฝันร้าย"...
จากคุณ: JaneJane โพสเมื่อวันที่: 09/01/20 เวลา 20:22:06
on 09/01/20 เวลา 19:32:56, หมอเมืองสยาม wrote:
                          ...ตรวจคนไข้เด็ก , นิยาม ? - " ฝันร้าย"...

ปกติจะอ่านข้อความที่หมอเมืองสยามเขียนไม่รู้เรื่อง ไม่เข้าใจ
แต่ทำไมวันนี้เราอ่านเข้าใจ เหมือนตามที่เราคิดเลยอะ 555
จากคุณ: หมอเมืองสยาม โพสเมื่อวันที่: 09/02/20 เวลา 18:51:19
    ...จู่ๆเจอคนไข้เด็ก  เป็นกระผมขี้หักใน ครับ...
จากคุณ: Dr._Panya โพสเมื่อวันที่: 09/03/20 เวลา 11:29:10
แต่ถ้าเราเป็น Staff (เช่น Med. หรือ ศัลย์ ) การให้ช่วยตรวจ+ รักษา ผู้ป่วยแผนกอื่นๆ เป็นครั้งคราว (เช่น ตรวจ- รักษา เด็ก ในกรณี) นี้ก็น่าจะไม่หนักใจ เท่ากับตอนเป็น Interns ที่(แทบจะ)ไม่สามารถหลีกเลี่ยงเคสได้จริงๆ
เพราะคงจะฝากน้องๆ หรือ เพื่อนๆ Staff แผนกอื่นได้ง่ายกว่า (เพราะเค้าจะเกรงใจเรามากกว่าครับ อิ อิ อิ)
จากคุณ: Dr._Panya โพสเมื่อวันที่: 09/03/20 เวลา 13:04:52
รึหาก ไม่ลำบากเรื่องสตุ้งสตางค์มากนัก+ ไม่อยากจะตรวจ+ รักษา ผป. เด็กจริงๆเลย...ก็อาจจะ "ขายเวร" ดังกล่าว ให้น้องๆ Interns ไปเลยครับ อิ  อิ
จากคุณ: หมอเมืองสยาม โพสเมื่อวันที่: 09/05/20 เวลา 19:11:45
    ตรวจคนไข้เด็ก ,รู้สึกยังไง? - " สยองขวัญ ครับ"
จากคุณ: SantaNiCo โพสเมื่อวันที่: 09/05/20 เวลา 21:57:38
ตรวจเด็กไม่ยากค่ะ. ยืนยัน
แค่อย่าให้โอกาสอ้าปากร้องก็พอ..
จากคุณ: Innominate โพสเมื่อวันที่: 09/09/20 เวลา 16:25:09
on 08/25/20 เวลา 12:25:59, JaneJane wrote:

 
เวร OPD นอกเวลายังไงก็เลี่ยง case เด็กไม่ได้ค่ะ  Cry
แต่เลือกที่จะออกตรวจพร้อมหมอ ped ได้
แต่ไม่รู้จะทำแบบนี้ไปได้นานแค่ไหน Cry

 
สมัยผมจบบอร์ดใหม่ๆต้องตรวจ opd นอกเวลาเหมือนกัน หลังจากแทบไม่ได้ตรวจเลยมาหลายปี ถ้าเจอเคสไม่มันใจ สงสัย ก็ consult เด็กหมดครับ จริงๆผมว่าพอเป็นระดับ staff ด้วยกัน consult กันเองมันง่ายและราบรื่นกว่าสมัยเป็น intern ไป consult แพทย์เฉพาะทางครับ ผมเลย consult บ่อยเลย  
 
  Grin
จากคุณ: Pandermonium โพสเมื่อวันที่: 09/09/20 เวลา 20:54:13
จริง  สตาฟแม่งชอบกินหัวintern  จะอะไรนักหนา


  • ข้อความและรูปภาพที่ท่านเห็นส่วนใหญ่ ได้ถูกส่งมาจาก ทางบ้าน
    ทางเว็บไซต์ Thaiclinic.com ไม่ได้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ของข้อความและรูปภาพที่ถูกส่งมา

  • ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชนและส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ
    เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้นเพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง
    ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง

  • ถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรมหรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล
    หรือหน่วยงานใด กรุณาส่ง email มาที่ webmaster@thaiclinic.com หรือ กดแจ้งที่ปุ่ม
    "แจ้งลบกระทู้"
    เพื่อให้ทีมงานทราบและทำการลบข้อความนั้นออกจากระบบต่อไป ขอขอบคุณทุกท่านที่ช่วยกันทำให้สังคมน่าอยู่ครับ

ThaiClinic.Com . All Rights Reserved. !--BEGIN WEB STAT CODE-->

Powered by