แจ้งลบกระทู้ แจ้งเมื่อมีคนตอบกระทู้นี้ แนะนำกระทู้นี้ Print

 หัวข้อ 38573: สงสัยต้นทุนประกันสังคมครับ  (จำนวนคนอ่าน 1236 ครั้ง)
« เมื่อ: 11/07/20 เวลา 07:08:22 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

ออกตัวก่อนว่าผมรู้ราละเอียดคร่าวๆนะครับไม่ได้รู้ลึกเท่าไหร่
 
ตามที่ผมเข้าใจคือรพ.ที่รับปกส. จะได้เงินก้อนรายปีจากสนง.ปกส.แล้วเอามาบริหารเอาเองในระยะเวลา 1  ปี เงินที่เหลือก็คือเป็นกำไรเข้ารพ. ผมเข้าใจถูกมั้ยครับ
 
ทีนี้ผมได้ยินเพื่อนๆผมที่ทำงานเอกชนที่รับปกส.บ่นกันเยอะมาก เวลาที่จะส่ง investigate บางอย่างจะต้องขออนุมัติเช่นพวก CT ถ้าเป็นเคสที่ indication มันชัดเจนส่วนใหญ่จะได้รับการอนุมัติ แต่ถ้าเคสบางเคสที่มันก้ำกึ่งๆ ก็ลุ้นเอาว่าจะได้หรือไม่ได้ เช่น
- sudden severe headache สงสัย subarachnoid --> ขออนุมัติส่ง CT บางเคสได้บางเคสไม่ได้ แล้วแต่ดวง ส่วนใหญ่จะตีกลับมาว่าถ้า neurosign ไม่มีอะไร ให้ treat ยาก่อนแล้วนัดมาดู  
แต่จากประสบการณ์ผมที่ทำงานใน ER 10 กว่าปี ไอ้เคสแบบนี้ คนไข้อายุน้อ ย ไม่มีโรคประจำตัว sudden headache + neurosigh normalผมส่ง CT เพื่อ R/O แล้วเจอ SAH มาแล้วก็หลายเคส
- ปวดท้องมานานๆ สงสัย biliary colic จะส่ง ultrasound ดูพวก gallstone บางเคสก็ได้บางเคสก็ไม่ได้
 
ผมเลยสงสัยว่าต้นทุนในการทำ imaging พวกนี้แต่ละครั้งรพ.ต้องแบกรับต้นทุนอะไรไว้บ้างนอกจากค่าไฟ เลยอนุมัติกันยากจัง จะเรียกว่ารพ.จะเสียเงินก็ไม่ใช่ เพราะได้เงินก้อนรายหัวตามจำนวนผู้ประกันตนรายปีมาแล้ว
 
สงสัยครับ ขอถามผู้รู้หน่อยนะครับ
ส่งโดย: xest
สถานะ: Full Member ***
จำนวนความเห็น: 176  
   
110.164.76.*


« ความเห็นที่ #1 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 08:19:44 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

ต้นทุนในการทำ investigation จะยกตัวอย่างกรณี CT นะครับ
ประกอบด้วยสองส่วน ส่วนต้นทุนคงที่ Fix cost (ซื้อหรือเช่าเครื่องมา เป็นค่าเสื่อมกับค่าเช่า อันนี้กำหนดไว้คงที่ในแต่ละปี) กับ ส่วนต้นทุนแปรผัน Variable cost เป็นต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนครั้งที่ใช้งาน
กรณี Variable cost ก็เช่น ค่าไฟ ค่าแรงเจ้าหน้าที่ ค่าอ่านของหมอรังสี ค่ายาที่ใช้กับผู้ป่วยแต่ละครั้งที่ใช้งาน ใช้มากเสียมาก  
คิดว่าทางโรงพยาบาลคงต้องการควบคุมค่าใช้จ่ายในส่วนต้นทุนแปรผัน (Variable cost) นี่ล่ะครับเพราะเป็นส่วนที่จะเพิ่มขึ้นตามครั้งที่ใช้งาน ไม่ให้มากเกินไป ซึ่งก็ต้องไปดูเป้าหมายด้วยว่า มีเป้าในการทำกำไรเท่าไร ถ้าตั้งเป้าไว้สูงก็จะคุมเข้มหน่อยนั่นเอง
 Smiley
« แก้ไขครั้งสุดท้ายเมื่อ: 11/07/20 เวลา 08:22:14 by finches »
ส่งโดย: finches
สถานะ: Newbie *
จำนวนความเห็น: 1  
   
122.154.16.*


« ความเห็นที่ #2 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 10:52:02 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

on 11/07/20 เวลา 07:08:22, xest wrote:
ออกตัวก่อนว่าผมรู้ราละเอียดคร่าวๆนะครับไม่ได้รู้ลึกเท่าไหร่
 
ตามที่ผมเข้าใจคือรพ.ที่รับปกส. จะได้เงินก้อนรายปีจากสนง.ปกส.แล้วเอามาบริหารเอาเองในระยะเวลา 1  ปี เงินที่เหลือก็คือเป็นกำไรเข้ารพ. ผมเข้าใจถูกมั้ยครับ
 
ทีนี้ผมได้ยินเพื่อนๆผมที่ทำงานเอกชนที่รับปกส.บ่นกันเยอะมาก เวลาที่จะส่ง investigate บางอย่างจะต้องขออนุมัติเช่นพวก CT ถ้าเป็นเคสที่ indication มันชัดเจนส่วนใหญ่จะได้รับการอนุมัติ แต่ถ้าเคสบางเคสที่มันก้ำกึ่งๆ ก็ลุ้นเอาว่าจะได้หรือไม่ได้ เช่น
- sudden severe headache สงสัย subarachnoid --> ขออนุมัติส่ง CT บางเคสได้บางเคสไม่ได้ แล้วแต่ดวง ส่วนใหญ่จะตีกลับมาว่าถ้า neurosign ไม่มีอะไร ให้ treat ยาก่อนแล้วนัดมาดู  
แต่จากประสบการณ์ผมที่ทำงานใน ER 10 กว่าปี ไอ้เคสแบบนี้ คนไข้อายุน้อ ย ไม่มีโรคประจำตัว sudden headache + neurosigh normalผมส่ง CT เพื่อ R/O แล้วเจอ SAH มาแล้วก็หลายเคส
- ปวดท้องมานานๆ สงสัย biliary colic จะส่ง ultrasound ดูพวก gallstone บางเคสก็ได้บางเคสก็ไม่ได้
 
ผมเลยสงสัยว่าต้นทุนในการทำ imaging พวกนี้แต่ละครั้งรพ.ต้องแบกรับต้นทุนอะไรไว้บ้างนอกจากค่าไฟ เลยอนุมัติกันยากจัง จะเรียกว่ารพ.จะเสียเงินก็ไม่ใช่ เพราะได้เงินก้อนรายหัวตามจำนวนผู้ประกันตนรายปีมาแล้ว
 
สงสัยครับ ขอถามผู้รู้หน่อยนะครับ

 
ลองคิดในมุมกลับว่า ถ้า จขกท. เป็น ผู้บริหาร หรือ เจ้าของ รพ.เอกชน นั้นๆ แล้วมีแพทย์ใน รพ.มาขอให้ Investigations นั่น นี่ โน่น...จะให้ทำได้เองเลยมั้ย  หรือ คุณ จขกท. จะอนุมัติทุกราย หรือ เกือบทุกราย มั้ยครับ อิ อิ อิ
ส่งโดย: Dr._Panya male
สถานะ: Executive Member *****
จำนวนความเห็น: 1916  
   
49.228.150.106 fwd for 192.168.14.*


« ความเห็นที่ #3 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 10:59:18 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

ถ้าทุกๆอย่าง อย่างที่คุณ จขกท.เล่ามานั้นปกติ แต่เจอ SAH/ SDH แล้วไง...เคส SDH or SAH นั้นต้องผ่าตัดทุกราย หรือผ่าตัดทันที รึเปล่าครับ...ถามอาจารย์ Neuro Surgeons ดูสิครับ  อิ อิ อิ
(ประวัติ+ ตรวจ ร่างกาย จึงสำคัญกว่า+ ต้องมาก่อน Investigations เสมอครับ)
ส่งโดย: Dr._Panya male
สถานะ: Executive Member *****
จำนวนความเห็น: 1916  
   
49.228.150.106 fwd for 192.168.14.*


« ความเห็นที่ #4 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 13:37:51 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

ต้นทุนประกันสังคม ใช้เกินเงินที่ได้ทั้ง รพ รัฐ และเอกชน ทั้งนั้น แต่ รพ รัฐอยู่ได้ เพราะเป็นเงินที่เพิ่มเติมจากงบ ของ สำนักประกันสุขภาพ กรมบัญชีกลาง และเงินบริจาค
รพ.เอกชน ก็ได้ เพราะมีเงินสดเข้าจำนวนหนึ่งแน่นอน เอาไปกู้เงินได้ คนไข้เพิ่ม ทำให้ รพ.ดูดี มีคนไข้ติด ไม่เงียบเหงา  OPD และคนไข้ในเพิ่ม  ถ้าจะขาย รพ. หรือเข้าตลาดหุ้น ก็มีราคา พอมีคนไข้มากก็หากินกับการเปิดโรงเรียนสอนคนดูแลผู้ป่วย เก็บเงินจากคนที่มาเรียนการดูแลผู้ป่วย ได้ทั้งเงินจากคนมาเรียน ได้แรงงานต้นทุนตำ่มาดูคนไข้
ส่งโดย: only2b male
สถานะ: Full Member ***
จำนวนความเห็น: 166  
   
184.22.178.*


« ความเห็นที่ #5 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 15:09:52 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

on 11/07/20 เวลา 08:19:44, finches wrote:
ต้นทุนในการทำ investigation จะยกตัวอย่างกรณี CT นะครับ
ประกอบด้วยสองส่วน ส่วนต้นทุนคงที่ Fix cost (ซื้อหรือเช่าเครื่องมา เป็นค่าเสื่อมกับค่าเช่า อันนี้กำหนดไว้คงที่ในแต่ละปี) กับ ส่วนต้นทุนแปรผัน Variable cost เป็นต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนครั้งที่ใช้งาน
กรณี Variable cost ก็เช่น ค่าไฟ ค่าแรงเจ้าหน้าที่ ค่าอ่านของหมอรังสี ค่ายาที่ใช้กับผู้ป่วยแต่ละครั้งที่ใช้งาน ใช้มากเสียมาก  
คิดว่าทางโรงพยาบาลคงต้องการควบคุมค่าใช้จ่ายในส่วนต้นทุนแปรผัน (Variable cost) นี่ล่ะครับเพราะเป็นส่วนที่จะเพิ่มขึ้นตามครั้งที่ใช้งาน ไม่ให้มากเกินไป ซึ่งก็ต้องไปดูเป้าหมายด้วยว่า มีเป้าในการทำกำไรเท่าไร ถ้าตั้งเป้าไว้สูงก็จะคุมเข้มหน่อยนั่นเอง
 Smiley

 
โอ้ มันมีตรงนี้อยู่ที่ผมไม่ทราบ ความรู้ใหม่เลย ขอบคุณครับ
ส่งโดย: xest
สถานะ: Full Member ***
จำนวนความเห็น: 176  
   
110.164.76.*


« ความเห็นที่ #6 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 15:14:00 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

on 11/07/20 เวลา 10:59:18, Dr._Panya wrote:
ถ้าทุกๆอย่าง อย่างที่คุณ จขกท.เล่ามานั้นปกติ แต่เจอ SAH/ SDH แล้วไง...เคส SDH or SAH นั้นต้องผ่าตัดทุกราย หรือผ่าตัดทันที รึเปล่าครับ...ถามอาจารย์ Neuro Surgeons ดูสิครับ  อิ อิ อิ
(ประวัติ+ ตรวจ ร่างกาย จึงสำคัญกว่า+ ต้องมาก่อน Investigations เสมอครับ)

 
ผมเห็นด้วยครับอาจารย์ว่ามันไม่ต้องผ่าทุกเคสหรอกครับ medical treatment ได้เป็นส่วนใหญ่ด้วยครับ  
แต่ถ้าในรพ.เอกชน บอกว่าตรวจร่างกายปกติ ไม่ investigate แล้วนัดมา follow แล้วมาตรวจเจอทีหลังว่า bleed ผมว่ามันโคตรเสี่ยงโดนฟ้องเลยครับ อาจารย์ว่าไงครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้ายเมื่อ: 11/07/20 เวลา 15:16:48 by xest »
ส่งโดย: xest
สถานะ: Full Member ***
จำนวนความเห็น: 176  
   
110.164.76.*


« ความเห็นที่ #7 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 15:19:01 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

on 11/07/20 เวลา 10:52:02, Dr._Panya wrote:

 
ลองคิดในมุมกลับว่า ถ้า จขกท. เป็น ผู้บริหาร หรือ เจ้าของ รพ.เอกชน นั้นๆ แล้วมีแพทย์ใน รพ.มาขอให้ Investigations นั่น นี่ โน่น...จะให้ทำได้เองเลยมั้ย  หรือ คุณ จขกท. จะอนุมัติทุกราย หรือ เกือบทุกราย มั้ยครับ อิ อิ อิ

 
ก็เพราะผมไม่ทราบถึงเรื่องการบริหารต้นทุนไงครับ ผมถึงมาถามเพื่อเก็บเป็นความรู้
ส่งโดย: xest
สถานะ: Full Member ***
จำนวนความเห็น: 176  
   
110.164.76.*


« ความเห็นที่ #8 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 18:28:26 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

on 11/07/20 เวลา 15:14:00, xest wrote:

 
ผมเห็นด้วยครับอาจารย์ว่ามันไม่ต้องผ่าทุกเคสหรอกครับ medical treatment ได้เป็นส่วนใหญ่ด้วยครับ  
แต่ถ้าในรพ.เอกชน บอกว่าตรวจร่างกายปกติ ไม่ investigate แล้วนัดมา follow แล้วมาตรวจเจอทีหลังว่า bleed ผมว่ามันโคตรเสี่ยงโดนฟ้องเลยครับ อาจารย์ว่าไงครับ

 
เราซักประวัติ+ ตรวจร่างกายดีแล้ว คิดถึงภาวะ/ โรค...นี้แล้ว+ Notify/ Consult แพทย์เฉพาะทางแล้ว เค้ารับทราบ/ ชี้แนะ ว่าให้ทำ...แล้ว+ นัดผู้ป่วยมาติดตามอาการแล้ว
แต่ต่อมามีภาวะ/ โรค...อย่างที่เราคิดถึงจริงๆ ก็ Notify/ Consult อาจารย์ประจำแผนกอีกครั้งสิครับ ผป. จะมาฟ้องอะไรเรา เราไม่ได้ Missed Diagnosis or Malpractice ซะหน่อย นิ
 
- เคสปวดกลางท้องวันนี้ เรา DX+ RX as Acute Gastritis, แต่เราคิดถึง+ แนะนำ Appendicitis + นัด Follow up แก่ ผป.แล้ว แต่อีก 3 วันต่อมา กลายเป็น Appendicits จริงๆ
- เคส Low risk Pregnancy...Visit Labor Room อยู่ดีๆ ทุกอย่างดีหมด จู่ๆก็มี Non-Reassuring of Fetal Tracing  
ฯลฯ เป็นต้น
 
 
ขอเพียงเรา Manage ผป. อย่างถูกต้อง/ เหมาะสม ตามหลักวิชาการแพทย์+ สถานการณ์นั้นๆ
สิ่งที่เกิดภายหลัง เราก็ได้คิดถึง/ แนะนำ/ ป้องกัน/ รักษาในระดับที่เหมาะสมแล้ว นิ (ไม่ได้ ประมาท/ เลินเล่อ/ จงใจ ให้เกิดข้อผิดพลาดทางการแพทย์ซะหน่อย) อิ อิ อิ
ส่งโดย: Dr._Panya male
สถานะ: Executive Member *****
จำนวนความเห็น: 1916  
   
49.228.150.106 fwd for 192.168.14.*


« ความเห็นที่ #9 เมื่อ: 11/07/20 เวลา 19:23:05 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

on 11/07/20 เวลา 18:28:26, Dr._Panya wrote:

 
เราซักประวัติ+ ตรวจร่างกายดีแล้ว คิดถึงภาวะ/ โรค...นี้แล้ว+ Notify/ Consult แพทย์เฉพาะทางแล้ว เค้ารับทราบ/ ชี้แนะ ว่าให้ทำ...แล้ว+ นัดผู้ป่วยมาติดตามอาการแล้ว
แต่ต่อมามีภาวะ/ โรค...อย่างที่เราคิดถึงจริงๆ ก็ Notify/ Consult อาจารย์ประจำแผนกอีกครั้งสิครับ ผป. จะมาฟ้องอะไรเรา เราไม่ได้ Missed Diagnosis or Malpractice ซะหน่อย นิ
 
- เคสปวดกลางท้องวันนี้ เรา DX+ RX as Acute Gastritis, แต่เราคิดถึง+ แนะนำ Appendicitis + นัด Follow up แก่ ผป.แล้ว แต่อีก 3 วันต่อมา กลายเป็น Appendicits จริงๆ
- เคส Low risk Pregnancy...Visit Labor Room อยู่ดีๆ ทุกอย่างดีหมด จู่ๆก็มี Non-Reassuring of Fetal Tracing  
ฯลฯ เป็นต้น
 
 
ขอเพียงเรา Manage ผป. อย่างถูกต้อง/ เหมาะสม ตามหลักวิชาการแพทย์+ สถานการณ์นั้นๆ
สิ่งที่เกิดภายหลัง เราก็ได้คิดถึง/ แนะนำ/ ป้องกัน/ รักษาในระดับที่เหมาะสมแล้ว นิ (ไม่ได้ ประมาท/ เลินเล่อ/ จงใจ ให้เกิดข้อผิดพลาดทางการแพทย์ซะหน่อย) อิ อิ อิ

 
เห็นด้วยกับคำแนะนำคะ
ส่งโดย: elcondor_pasa
สถานะ: Full Member ***
จำนวนความเห็น: 124  
   
182.232.234.*


« ความเห็นที่ #10 เมื่อ: 11/08/20 เวลา 12:57:41 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

หมอมีindicationก็ยื่นไปนั้นแหละ ถ้าเค้าไม่อนุมัติก็บอกคนำข้ไปตรง  
ปกส ก็ เป็นlow cost health care system เหมือนกัน ถ้าไม่คุมค่าใช้จ่ายก็เจ๋ง
« แก้ไขครั้งสุดท้ายเมื่อ: 11/08/20 เวลา 12:58:53 by jumpoo »
ส่งโดย: jumpoo
สถานะ: Senior Member ****
จำนวนความเห็น: 400  
   
115.87.76.*


« ความเห็นที่ #11 เมื่อ: 11/09/20 เวลา 10:53:47 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

 ถามผิดแล้ว ไม่เกี่ยวกับต้นทุนเลย
  ระบบเหมาจ่าย มันทำให้ต้องลด ค่าใช้จ่าย ที่อาจจำเป็น หรือไม่จำเป็นลงก็แค่นั้นเอง มันก็เลยมีกำแพงเล็กๆ ให้ต้องสะดุดคิด
   ถ้าลองจ่ายเอง  ทุกการ ตรวจรักษา  แปลว่าได้เงิน ได้กำไร สิ่งจำเป็นก็ได้ตรวจอย่างรวดเร็ว และ จะเกิดการตรวจที่ไม่จำเป็นมากกว่าปกติ เผลอๆการตรวจที่มากกว่าปกติ ก็เป็นอัตรายกับคนไข้  ไม่ได้เพิ่ม ความปลอดภัยหรือความรวดเร็วในการรักษา เพราะมัวแต่ตรวจนอกเรื่อง  เสียเงินเสียเวลาอยู่
ส่งโดย: blitzs
สถานะ: Executive Member *****
จำนวนความเห็น: 2998  
   
110.164.66.*


« ความเห็นที่ #12 เมื่อ: 11/09/20 เวลา 11:53:46 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

- เราก็ซักประวัติ+ ตรวจร่างกาย+  Investigations ที่จำเป็น/ เหมาะสมกับโรค/ ภาวะนั้นจริงๆ แล้วก็วินิจฉัย หรือรักษา ไปในทางที่เหมาะสมกับโรคหรือข้อจำกัดต่างๆ ครับ
- คือลองนึกว่าเราเป็นหมอคนเดียวใน รพ.ชุมชน+ ไม่มีแล็บอะไรสักอย่าง+ รีเฟอร์ไปไหนไม่ได้ เราจะทำยังไง ครับ
- ในกรณีที่เราไม่แน่ใจเรื่องการวินิจฉัย/ รักษา หรือคิดว่า จำเป็นต้อง Investigates/ สั่งยา บางอย่างที่จำเป็น/ ราคาแพงนี้ก็อาจจะ Consult or Notify แพทย์ผู้ใหญ่/ แพทย์เฉพาะทาง ครับ ว่าเค้าคิดเหมือน- ต่างจากเรามั้ย/ เค้าทำยังไง/ รักษายังไง เป็นต้นครับ
 
ป.ล. แต่ว่างๆ ก็แนะนำให้อ่านหนังสือ/ ประชุมวิชาการ เยอะๆ/ บ่อยๆ โดยเฉพาะในสาขาที่เรา(คิดว่า)ไม่แม่น/ สนใจ ครับ
ส่งโดย: Dr._Panya male
สถานะ: Executive Member *****
จำนวนความเห็น: 1916  
   
184.22.80.44 fwd for 192.168.14.*


« ความเห็นที่ #13 เมื่อ: 11/14/20 เวลา 09:46:48 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

on 11/08/20 เวลา 12:57:41, jumpoo wrote:
หมอมีindicationก็ยื่นไปนั้นแหละ ถ้าเค้าไม่อนุมัติก็บอกคนำข้ไปตรง  
ปกส ก็ เป็นlow cost health care system เหมือนกัน ถ้าไม่คุมค่าใช้จ่ายก็เจ๋ง

 
...ใช่ครับ
ในกรณีดังกล่าว หากวันข้างหน้า ผป. มีภาวะ/ โรค/ ภาวะแทรกซ้อน อย่างที่ จขกท. คิดถึง/ Notify แพทย์ผู้ใหญ่แล้วจริงๆ แต่ว่าไม่ได้รับ Response จนเป็นเหตุให้มี ปัญหาทางการแพทย์ (ทั้ง Morbid. and Mortal) จนถึงฟ้องร้องเรียกค่าเยียวยา/ ค่าเสียหาย แก่แพทย์ผู้เกี่ยวข้อง/ คลินิก หรือทางโรงพยาบาล (มีหลักฐานใน Medical Record อยู่ ใช่มั้ยล่ะครับ)
จขกท. น่าจะไม่ติดร่างแห ในการฟ้องร้อง(มั้ง)ครับ อิ อิ อิ...( ป.ล. ความเห็นส่วนตัว ครับ)
ส่งโดย: Dr._Panya male
สถานะ: Executive Member *****
จำนวนความเห็น: 1916  
   
184.22.80.44 fwd for 192.168.14.*


« ความเห็นที่ #14 เมื่อ: 01/10/21 เวลา 15:08:50 » ตอบกลับพร้อมข้อความ แก้ไขข้อความ

ขอแทรกนิด...ด่วนนะ...่ช่วยแจ้งแพทยอื่นด้วย
 
--
แต่ที่แน่ๆๆ
 
หากแพทย์ไม่แก้ไข ด้วยที่แพทย์ส่วนใหญ่ ควรทำการลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการแพทยสภา ก็อาจมีคะแนนผีอ้างเลขประกอบวิชาชีพของท่านไปใช้ได้
 
และมีเวลาเหลือน้อยมาก คือ  
 
เพียงอีก ๔ วันนี้เท่านั้น ที่พอทำได้คือการเลือก (ปิดรับลงคะแนน ๑๔ มค ๖๔ เวลา ๑๖.๓๐ น.)  
 
และเวลานี้ ทำได้เฉพาะผู้ที่ลงทะเบียน e vote แล้วเท่านั้น
หากเป็นผู้มีบัตรเลือกตั้งทางไปรษณีีย์  ต้องส่งทาง ปณ.เท่านั้น (ห้ามไปส่งที่สำนักงานแพทสภา แบบปีก่อนๆ )  ซึ่งอาจไปถึงเกินเวลาปิดรับ ก็จะกลายเป็นบัตรเสีย
 
ดังนั้นหากจะต้องส่งทาง ปณ.ให้ทันในเวลานี้  ควรส่งที่เคาเตอร์ ปณ.นนทบุรี อันเป็นที่ตั้งของ แพทยสภา ก็อาจจะพอทันนะ
ส่งโดย: DrWinny
สถานะ: Full Member ***
จำนวนความเห็น: 152  
   
182.53.146.*


Page(s) : 1 


แจ้งลบกระทู้ แจ้งเมื่อมีคนตอบกระทู้นี้ แนะนำกระทู้นี้ Print



Reply this Topic reserved for registed member only. Register



  • ข้อความและรูปภาพที่ท่านเห็นส่วนใหญ่ ได้ถูกส่งมาจาก ทางบ้าน
    ทางเว็บไซต์ Thaiclinic.com ไม่ได้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ของข้อความและรูปภาพที่ถูกส่งมา

  • ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชนและส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ
    เจ้าของเว็บไซต์ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ทั้งสิ้นเพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง
    ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง

  • ถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรมหรือเป็นการกลั่นแกล้งเพื่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคล
    หรือหน่วยงานใด กรุณาส่ง email มาที่ webmaster@thaiclinic.com หรือ กดแจ้งที่ปุ่ม
    "แจ้งลบกระทู้"
    เพื่อให้ทีมงานทราบและทำการลบข้อความนั้นออกจากระบบต่อไป ขอขอบคุณทุกท่านที่ช่วยกันทำให้สังคมน่าอยู่ครับ

ThaiClinic.Com . All Rights Reserved. !--BEGIN WEB STAT CODE-->

Powered by